กำชัย ทองหล่อ
กำชัย ทองหล่อ
ประวัติ
นายกำชัย ทองหล่อ เดิมชื่อ บุญมา ทองหล่อ เกิดเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2449 ที่บ้านเกาะ ตำบลตะเคียนเลื่อน อำเภอปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์เป็นบุตรคนที่ 5 ในจำนวนพี่น้อง 8 คนของนายทองคำและนางศรีเมืองทองหล่อ เมื่ออายุประมาณ 30 ปี จำเป็นต้องเปลี่ยนชื่อจาก นายบุญมา
เป็นนายกำชัย เพื่อให้ต้องตาม "รัฐนิยม" ประมาณ พ.ศ. 2477 สมรสกับนางสาวไสว เจียกจันทร์ มีบุตรธิดารวม 8 คน นายกำชัย ทองหล่อ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2528
เป็นนายกำชัย เพื่อให้ต้องตาม "รัฐนิยม" ประมาณ พ.ศ. 2477 สมรสกับนางสาวไสว เจียกจันทร์ มีบุตรธิดารวม 8 คน นายกำชัย ทองหล่อ ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2528
การศึกษา
สอบไล่ได้เปรียญธรรมประโยค 5 วัดเทพศรินทราวาส กรุงเทพฯ พ.ศ. 2472
การฝึกอบรม ดูงาน
สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก
การทำงาน
- ครูสอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนอินทรศึกษา พ.ศ. 2476
- ครูพิเศษสอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย พ.ศ. 2479-2480
- ครูรับเชิญสอนวิชาภาษาไทยตามโรงเรียนเอกชน โรงเรียนรัฐบาล วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
- ครูสอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนจิตรลดา พ.ศ. 2504
- ครูพิเศษสอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย พ.ศ. 2479-2480
- ครูรับเชิญสอนวิชาภาษาไทยตามโรงเรียนเอกชน โรงเรียนรัฐบาล วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
- ครูสอนวิชาภาษาไทย โรงเรียนจิตรลดา พ.ศ. 2504
ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ
- กรรมการจัดทำหนังสืออ่านภาษาไทยเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์
- กรรมการชำระปทานุกรมแห่งราชบัณฑิตยสถาน
- กรรมการสอบไล่วิชาอ่านไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กระทรวงศึกษาธิการในจังหวัดพระนคร
- กรรมการตรวจข้อสอบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- กรรมการออกข้อสอบไล่ประโยคประถมศึกษา
- กรรมการตัดสินบทร้อยกรอง
- กรรมการวัฒนธรรมทางประเพณี
- ที่ปรึกษาวิชาภาษาไทยและแต่งตำราเรียน
- ปาฐกถาในการอบรมครู
- ปาฐกถาในที่ประชุมครูแผนกอนุบาล
- วิทยากรในการประชุมครูต่างจังหวัด
- ออกรายการวิทยุและโทรทัศน์เกี่ยวกับภาษาไทยและการแสดงละคร
- กรรมการชำระปทานุกรมแห่งราชบัณฑิตยสถาน
- กรรมการสอบไล่วิชาอ่านไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กระทรวงศึกษาธิการในจังหวัดพระนคร
- กรรมการตรวจข้อสอบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
- กรรมการออกข้อสอบไล่ประโยคประถมศึกษา
- กรรมการตัดสินบทร้อยกรอง
- กรรมการวัฒนธรรมทางประเพณี
- ที่ปรึกษาวิชาภาษาไทยและแต่งตำราเรียน
- ปาฐกถาในการอบรมครู
- ปาฐกถาในที่ประชุมครูแผนกอนุบาล
- วิทยากรในการประชุมครูต่างจังหวัด
- ออกรายการวิทยุและโทรทัศน์เกี่ยวกับภาษาไทยและการแสดงละคร
ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง
ผลงานทางวิชาการ
หนังสือวิชาการ
หลักภาษาไทยชั้นประถม (ประถมปีที่ 1- ประถมปีที่ 7) สำหรับวางพื้นภาษาไทยเบื้องต้น
หลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คำถามทดสอบวิชาหลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หนังสือเรียนคู่กับวรรณคดีไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาษาไทยวันเด็ก
การใช้ภาษาไทยและความเข้าใจ
หลักภาษาไทยสำหรับนักศึกษาชั้นสูง
หลักภาษาบาลี (ฉบับทูลเกล้าฯ ถวาย)
นวกบาลี แบบเรียนบาลีเบี้องต้น พิมพ์ขึ้นเพื่อนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คำถามทดสอบว่าด้วยราชาศัพท์ คำบาลี_สันสกฤต คำเขมร ลักษณะนาม
ร้อยกรอง
สุภาษิตโลกนิติคำกลอน
สยามมกุฎราชกุมารสดุดี
นิราศไทรโยค
นิราศหัวหิน
นิราศวัดสิงห์
นิราศกำชัย
ลิลิตเรื่องไทยจากถิ่น
เพลงประจำโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
เพลงจิตรลดาแดนสรวง
บทสวดมนตร์และบทราชสดุดีของโรงเรียนจิตรลดา
เรื่องสั้น
ผู้ถืออุดมคติ
ครู- อาจารย์
รับประกันชีวิต
อย่างว่า
ชีวิต
นางกาปี
อกสามศอก
บทละคร
ปทุมาภมร
วันครู (แสดงทางสถานีวิทยุศึกษา
กลับใจ (แสดงโดยนักเรียนจิตรลดา)
โคบุตร
ฉางกาย
ราชินีฉิ่ง
กามนิต
สงครามมหาภารตยุทธ์
มาลตี
พิกุลทอง
โสนน้อยเรือนงาม
ฯลฯ
หลักภาษาไทยชั้นประถม (ประถมปีที่ 1- ประถมปีที่ 7) สำหรับวางพื้นภาษาไทยเบื้องต้น
หลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
หลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
คำถามทดสอบวิชาหลักภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
หนังสือเรียนคู่กับวรรณคดีไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ภาษาไทยวันเด็ก
การใช้ภาษาไทยและความเข้าใจ
หลักภาษาไทยสำหรับนักศึกษาชั้นสูง
หลักภาษาบาลี (ฉบับทูลเกล้าฯ ถวาย)
นวกบาลี แบบเรียนบาลีเบี้องต้น พิมพ์ขึ้นเพื่อนิสิตคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คำถามทดสอบว่าด้วยราชาศัพท์ คำบาลี_สันสกฤต คำเขมร ลักษณะนาม
ร้อยกรอง
สุภาษิตโลกนิติคำกลอน
สยามมกุฎราชกุมารสดุดี
นิราศไทรโยค
นิราศหัวหิน
นิราศวัดสิงห์
นิราศกำชัย
ลิลิตเรื่องไทยจากถิ่น
เพลงประจำโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
เพลงจิตรลดาแดนสรวง
บทสวดมนตร์และบทราชสดุดีของโรงเรียนจิตรลดา
เรื่องสั้น
ผู้ถืออุดมคติ
ครู- อาจารย์
รับประกันชีวิต
อย่างว่า
ชีวิต
นางกาปี
อกสามศอก
บทละคร
ปทุมาภมร
วันครู (แสดงทางสถานีวิทยุศึกษา
กลับใจ (แสดงโดยนักเรียนจิตรลดา)
โคบุตร
ฉางกาย
ราชินีฉิ่ง
กามนิต
สงครามมหาภารตยุทธ์
มาลตี
พิกุลทอง
โสนน้อยเรือนงาม
ฯลฯ
รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ
- ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาภาษาและวรรณคดีไทย
จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2521
จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2521
หมายเหตุ
บรรณานุกรม
กรมศิลปากร. 2527. กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์. ประวัติและผลงาน
ผู้ทรงคุณวุฒิทางภาษาไทย. กรุงเทพฯ.
กรมศิลปากร. 2527. กองวรรณคดีและประวัติศาสตร์. ประวัติและผลงาน
ผู้ทรงคุณวุฒิทางภาษาไทย. กรุงเทพฯ.