เจริญ นาคะสรรค์

เจริญ นาคะสรรค์

Print Friendly, PDF & Email

เจริญ นาคะสรรค์

รศ.ดร.

การศึกษา

ปริญญาตรี วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2529

ปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์โพลิเมอร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2534

ปริญญาเอก Ph.D. (Polymer rheology & processing) University of Bradford, England ปี 2540

การฝึกอบรม ดูงาน

สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก

การทำงาน

ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ

- คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1 เม.ย.2553 - 31 ก.ค.2555)

- รองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี  (1 มิ.ย.2555 - 31 พ.ค.2558)

- คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (1 ส.ค.2555 - 31 ต.ค.2555)

- คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (30 พ.ค.2557 - 29 พ.ย.2557)

- รองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี  (1 มิ.ย.2558 - 31 พ.ค.2561)

- คณบดี คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ (1 มิ.ย.2558)

- รองอธิการบดีวิทยาเขตสุราษฎร์ธานี  (1 มิ.ย.2561 - ปัจจุบัน)

ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง

ผลงานทางวิชาการ

รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ

ด้านการวิจัย

- ผลงานวิจัยเด่น สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปี 2557 เรื่องเทคโนโลยีการเคลือบสระกักเก็บน้ำด้วยน้ำยางเข้มข้นชนิดครีม เป็นผลงานวิจัยเด่นด้านพาณิชย์

- รางวัลเหรียญทองผลงานกาวสำหรับติดยางกับโลหะโดยใช้กาวรองพื้น (ไพรเมอร์) และกาวยางธรรมชาติ จากการเข้าร่วมประกวดและจัดแสดงนิทรรศการในงาน 42nd International Exhibition of Inventions of Geneva ณ กรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส ซึ่งจัดขึ้นวันที่ 2-6 เมษายน 2557 จัดโดย The World Intellectual Property Organization (WIPO) ภายใต้การสนับสนุนของ Swiss Federal Government of the State

- นักวิจัยที่ผลงานได้รับการจดอนุสิทธิบัตร ประจำปี 2557

- นักวิจัยที่ผลงานวิจัยได้รับรางวัลระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2557

- นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์สูงสุด 20 อันดับแรก จากฐานข้อมูล Web of Science ประจำปี 2557

- นักวิจัยที่ผลงานตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิงบทความสูงสุด 20 อันดับแรก จากฐานข้อมูล Web of Science ประจำปี 2557

- นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์ด้านยางธรรมชาติสูงที่สุดในประเทศไทย และมีผลงานตีพิมพ์เรื่อง The grafting of maleic anhydride onto natural rubber (C. Nakason, A. Kaesaman, P. Supasanthitikul, Polymer Testing, 2004, 23(1): 35-41) ได้รับการอ้างอิงสูงที่สุด 3 อันดับแรกของประเทศ (ที่มา: การรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูล ISI:WOS และเผยแพร่ในสารสนเทศเชิงวิเคราะห์ ฉบับที่ 5/2551
โดย รังสิมา เพ็ชรเม็ดใหญ่ ศูนย์บริการความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี STKS สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ,  http://www.stks.or.th/web/index.php?option=com_content&task=view&id=589&Itemid=104)

- นักวิจัยที่เป็น Corresponding Author ตั้งแต่ 3 บทความขึ้นไป จากฐานข้อมูล Web of Science ประจำปี 2557

- นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์สูงสุด 20 อันดับแรก (อันดับ 9) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากฐานข้อมูล ISI ปี 2008 (พ.ศ. 2551)

- นักวิจัยที่ผลงานตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิง (citation) สูงสุด 20 อันดับแรก (อันดับที่ 6) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากฐานข้อมูล ISI ปี 2008 (พ.ศ. 2551)

- อาจารย์ตัวอย่างของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ประจำปี 2551 ด้านการวิจัย สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- เครือข่ายวิจัยดีเด่น ประจำปี 2551 ประเภทสถานวิจัยความเป็นเลิศดีเด่น สถานวิจัยความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยียางพารา

- นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานตีพิมพ์สูงสุด 20 อันดับแรก (อันดับ 9) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากฐานข้อมูล ISI ช่วงปี 2006-2007 (พ.ศ. 2549-2550)

- นักวิจัยที่ผลงานตีพิมพ์ได้รับการอ้างอิง (citation) สูงสุด 20 อันดับแรก (อันดับที่ 14) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากฐานข้อมูล ISI ช่วงปี 2006-2007 (พ.ศ. 2549-2550)

- นักวิจัยที่ผลงานได้รับคัดเลือกเป็นนวัตกรรมและผลงานวิจัยดีเด่น ในโอกาสครบรอบ 40 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2550

- รางวัลนักวิจัยที่มีผลงานวิจัยได้รับรางวัลจากหน่วยงานระดับชาติ ประจำปี พ.ศ. 2550

- นักวิจัยที่มีจำนวนผลงานสูงสุด 20 อันดับแรก (อันดับที่ 10) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จากฐานข้อมูล ISI  ช่วงปี 2000-2005   (พ.ศ. 2543-2548)

- รางวัลโครงการวิจัยดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2548 ของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายอุตสาหกรรม ชื่อผลงาน กาวจากน้ำยางกราฟต์โคพอลิเมอร์ของยางธรรมชาติกับพอลิเมทิลเมทาคริเลท

- อาจารย์ตัวอย่างด้านการวิจัย ประจำปี พ.ศ. 2546 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

- รางวัลชนะเลิศโปสเตอร์ใน Polymer Processing Conference เรื่อง Latex Foam Rubber based on Graft Copolymer of Natural and Methyl Methacrylate  ปี พ.ศ. 2542

- ทุนวิจัยหลังปริญญาเอก สกว พ.ศ. 2542-2544

- ทุนพัฒนานักวิจัย (เมธีวิจัย สกว) พ.ศ. 2545-2548

- ทุนปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 6 ปี พ.ศ. 2546 (ดร. อโนมา ธิติธรรมวงศ์), รุ่นที่ 7   ปี พ.ศ. 2547 (ดร. ปุญญานิช อินทรพัฒน์), รุ่นที่ 8 ปี พ.ศ. 2548 (นางสาวมัสวานี นราธิชาติ), รุ่นที่ 9 ปี พ.ศ. 2549 (นายสุบฮาน สาและ), รุ่นที่ 10 ปี พ.ศ. 2550 (นางสาวสกุลรัตน์  พิชัยยุทธ์), รุ่นที่ 11 ปี พ.ศ. 2551 (นายเอกวิภู กาลกรณ์สุรปราณี), รุ่นที่ 12 ปี พ.ศ. 2552,  และอีกหลายรุ่นจนถึงปัจจุบัน (2562) ทุนปริญญาโท-เอก โครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารย์ ในสถาบันอุดมศึกษา สกอ ปี พ.ศ. 2551, โครงการทุนสถาบันบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทย (TGIST) ปี พ.ศ.

- ทุนเพิ่มขีดความสามารถด้านการวิจัยของอาจารย์รุ่นกลางในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. 2549-2552

- นักวิจัยที่มีผลงานที่ได้รับการจัดอันดับใน Science Direct Top 25 Hottest Articles โดยฐานข้อมูล ScienceDirect จากการจัดอันดับบทความที่มีผู้เรียกใช้มากที่สุด 25 อันดับแรก ในสาขา Chemistry และวารสาร Polymer Testing มีผลงาน 8 เรื่อง ที่ได้รับการจัดอันดับในช่วง January 2006- March 2009

- นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและคณิตศาสตร์ สภาวิจัยแห่งชาติ ปี  พ.ศ. 2553

- รางวัลวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมูลนิธิโทเร ประเทศไทย ปี พ.ศ. 2553

- รางวัลนักวิจัย The BLUE Jacket ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี พ.ศ. 2554

- รางวัลวิจัย สภาวิจัยแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2555

ด้านบริการวิชาการ

- รางวัลที่ปรึกษาโรงงานอุตสาหกรรมดีเด่น ระดับประเทศ จากกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม  กระทรวงอุตสาหกรรม  วันที่ 14  พฤษภาคม 2546 ณ โรงแรมเจ บี อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา จากคุณสุมลมาลย์ กัลยาศิริ อธิบดีกรมส่งเสริม อุตสาหกรรม

- รางวัลบุคลากรที่สร้างชื่อเสียงให้คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ปี พ.ศ. 2549

หมายเหตุ