นพรัตน์ บำรุงรักษ์
นพรัตน์ บำรุงรักษ์
รองศาสตราจารย์ ดร.
การศึกษา
- มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา กรุงเทพฯ พ.ศ.2509
- วิทยาศาสตรบัณฑิต (พฤกษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2514
- Diploma of Science in Agriculture, University of New England, Australia พ.ศ.2520
- Master of Science in Agriculture, University of New England, Australia พ.ศ.2523
- Doctor of Philosophy (Crop Science), North Carolina State University, U.S.A. พ.ศ.2528
- วิทยาศาสตรบัณฑิต (พฤกษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2514
- Diploma of Science in Agriculture, University of New England, Australia พ.ศ.2520
- Master of Science in Agriculture, University of New England, Australia พ.ศ.2523
- Doctor of Philosophy (Crop Science), North Carolina State University, U.S.A. พ.ศ.2528
การฝึกอบรม ดูงาน
-"ยางพารา" ณ ประเทศฝรั่งเศส และประเทศไววอรีโคสต์ (ทวีปอัฟริกา) เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.2531
- "มหาวิทยาลัยในเกาหลี" ณ ประเทศเกาหลี เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2534
- "ลองกอง ลางสาด" ณ รัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2535
- "ไม้ผล" ณ เมืองโมกอร์ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ.2535
- "ไม้ผล" ณ เมืองเมดาน เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2537
- "มหาวิทยาลัยในเกาหลี" ณ ประเทศเกาหลี เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2534
- "ลองกอง ลางสาด" ณ รัฐตรังกานู ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2535
- "ไม้ผล" ณ เมืองโมกอร์ เกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย พ.ศ.2535
- "ไม้ผล" ณ เมืองเมดาน เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2537
สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก
สมาชิกสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
การทำงาน
- อาจารย์ ประจำคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2515-2522
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2523-2533
- รองศาสตราจารย์ ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2534-2535
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2523-2533
- รองศาสตราจารย์ ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2534-2535
ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ
- หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.2528-2530
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.2530-2531
- รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2531-2534
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.2530-2531
- รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2531-2534
ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง
- ค่ายเยาวชนวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขณะดำรงตำแหน่ง หัวหน้าภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2529
- ความร่วมมือวิจัยยางพารากับรัฐบาลฝรั่งเศสด้านระบบกรีด ขณะดำรงตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ
- การลงทะเรียนเรียนล่วงหน้าของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขณะดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
- ปรับปรุงการสอนวิชาพื้นฐานทั่วไปของวิทยาเขตปัตตานี
- พัฒนาระบบการคุมสอบไล่ภายในวิทยาเขตปัตตานี
- ประธานทำแบบประเมินการขอตำแหน่งทางวิชาการ
- การตั้งสำนักวิทยบริการ
- การมีสำนักวิจัยและพัฒนาที่วิทยาเขตปัตตานี
- ความร่วมมือวิจัยยางพารากับรัฐบาลฝรั่งเศสด้านระบบกรีด ขณะดำรงตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายวิชาการ
- การลงทะเรียนเรียนล่วงหน้าของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ขณะดำรงตำแหน่งรองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
- ปรับปรุงการสอนวิชาพื้นฐานทั่วไปของวิทยาเขตปัตตานี
- พัฒนาระบบการคุมสอบไล่ภายในวิทยาเขตปัตตานี
- ประธานทำแบบประเมินการขอตำแหน่งทางวิชาการ
- การตั้งสำนักวิทยบริการ
- การมีสำนักวิจัยและพัฒนาที่วิทยาเขตปัตตานี
ผลงานทางวิชาการ
รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ
- อาจารย์ตัวอย่างด้านการบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2550 จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หมายเหตุ
งานอดิเรกของนายนพรัตน์ บำรุงรักษ์ คือ อ่่าน-เขียน หนังสือ
เป้าหมายของชีวิตคือ อยากเห็นชีวิตตัวเองมีคุณค่าสำหรับสังคม ในฐานะที่เกิดมาชาติหนึ่ง สำหรับเป้าหมายของการงานทั้งทางด้านวิชาการและบริหารคือ อยากก้าวไปสู่จุดสูงสุดที่สามารถกระทำได้ เพราะจะได้ทำในสิ่งที่อยากจะทำเพื่อสังคมได้โดยสะดวก แต่วิธีการต้องดำเนินไปอย่างเคารพกติกาสังคมและอย่างสุภาพบุรุษ และยังมีความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า อยากให้สังคมไทยมีวินัย เป็นสังคมวิชาการมากกว่าที่เป็นอยู่ และอยากเป็นคน ม.อ.เป็นนักวิชาการมากขึ้น ทำงานมากขึ้น เพื่อความมีสง่าราศี และชื่อเสียงของสถาบัน
เป้าหมายของชีวิตคือ อยากเห็นชีวิตตัวเองมีคุณค่าสำหรับสังคม ในฐานะที่เกิดมาชาติหนึ่ง สำหรับเป้าหมายของการงานทั้งทางด้านวิชาการและบริหารคือ อยากก้าวไปสู่จุดสูงสุดที่สามารถกระทำได้ เพราะจะได้ทำในสิ่งที่อยากจะทำเพื่อสังคมได้โดยสะดวก แต่วิธีการต้องดำเนินไปอย่างเคารพกติกาสังคมและอย่างสุภาพบุรุษ และยังมีความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า อยากให้สังคมไทยมีวินัย เป็นสังคมวิชาการมากกว่าที่เป็นอยู่ และอยากเป็นคน ม.อ.เป็นนักวิชาการมากขึ้น ทำงานมากขึ้น เพื่อความมีสง่าราศี และชื่อเสียงของสถาบัน