วัน เดชพิชัย
วัน เดชพิชัย
รองศาสตราจารย์ ดร.
ประวัติ
นายวัน เดชพิชัย (Mr. Wan Dechpichai) เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย
นับถือศาสนาพุทธ เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2478 ที่จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 4
ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 4 คน ของนายกล่อม และนางมา เดชพิชัย สมรสแล้วกับ
นางสวาสดิ์ เดชพิชัย มีบุตร 2 คน เป็นชาย 1 คนและหญิง 1 คน
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญคือ สถิติ การวิจัย การวัดผล การแนะแนวและจิตวิทยา
นับถือศาสนาพุทธ เกิดเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2478 ที่จังหวัดตรัง เป็นบุตรคนที่ 4
ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 4 คน ของนายกล่อม และนางมา เดชพิชัย สมรสแล้วกับ
นางสวาสดิ์ เดชพิชัย มีบุตร 2 คน เป็นชาย 1 คนและหญิง 1 คน
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญคือ สถิติ การวิจัย การวัดผล การแนะแนวและจิตวิทยา
การศึกษา
- มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวิเชียรมาตุ จังหวัดตรัง พ.ศ. 2495
- ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ปป.) โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2498
- การศึกษาบัณฑิต (ฟิสิกส์-คณิต) วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร พ.ศ. 2503
- การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยาพัฒนาการ) วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร พ.ศ. 2507
- M.A. (Guidance and Personnel Work) University of Colorado, Boulder,
โคโลลาโด สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2509
- การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร พ.ศ. 2527
- ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ปป.) โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2498
- การศึกษาบัณฑิต (ฟิสิกส์-คณิต) วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร พ.ศ. 2503
- การศึกษามหาบัณฑิต (จิตวิทยาพัฒนาการ) วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร พ.ศ. 2507
- M.A. (Guidance and Personnel Work) University of Colorado, Boulder,
โคโลลาโด สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2509
- การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประสานมิตร พ.ศ. 2527
การฝึกอบรม ดูงาน
- อบรม "การผลิตรายการโทรทัศน์" จัดโดยความร่วมมือระหว่าง B.B.C.
สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 และกองเผยแพร่การศึกษา พ.ศ. 2510
- อบรม "Cultural Aspects of Educational Leadership" The East-West Center,
University of Hawaii ฮาวาย สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2518
- ดูงาน "การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสาธารณรัฐประชาชนเกาหลี"
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนเกาหลี พ.ศ. 2529
- อมรม "Summer Workshop for the Development of Intercultural Coursework
at Colleges and University" The East-West Center, University of Hawaii,
ฮาวาย สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2532
สถานีโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 และกองเผยแพร่การศึกษา พ.ศ. 2510
- อบรม "Cultural Aspects of Educational Leadership" The East-West Center,
University of Hawaii ฮาวาย สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2518
- ดูงาน "การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศสาธารณรัฐประชาชนเกาหลี"
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนเกาหลี พ.ศ. 2529
- อมรม "Summer Workshop for the Development of Intercultural Coursework
at Colleges and University" The East-West Center, University of Hawaii,
ฮาวาย สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2532
สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก
- สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย
- มูลนิธิประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี
- สโมสรไลออนส์ จังหวัดปัตตานี
- มูลนิธิประถมศึกษาจังหวัดปัตตานี
- สโมสรไลออนส์ จังหวัดปัตตานี
การทำงาน
- อาจารย์ วิทยาลัยครูสงขลา กรมการฝีกหัดครู พ.ศ. 2503-2510
- ศึกษานิเทศก์ กองเผยแพร่การศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2511
- อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2511
- อาจารย์โท คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2513
- อาจารย์เอก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2514
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พ.ศ. 2517
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 6 ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2519
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 7 ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2521
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2524
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2532
- รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2539
- เกษียณอายุราชการ พ.ศ. 2539
- ศึกษานิเทศก์ กองเผยแพร่การศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2511
- อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2511
- อาจารย์โท คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2513
- อาจารย์เอก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2514
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พ.ศ. 2517
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 6 ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2519
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 7 ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2521
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2524
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8 ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2532
- รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2539
- เกษียณอายุราชการ พ.ศ. 2539
ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ
- หัวหน้าภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ พ.ศ. 2512-2516
- รองคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2517-2518
- รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2518-2520
- ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2521-2522
- คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2527-2531
- รักษาการคณบดีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
- อธิการบดีมหาวิทยาลัยหาดใหญ่
- รองประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- กรรมการประจำคณะศึกษาศาสตร์
- กรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย
- กรรมการพัฒนามหาวิทยาลัย
- กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ
- กรรมการบัณฑิตศึกษา ประจำคณะศึกษาศาสตร์
- กรรมการการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศึกษา 2
- กรรมการการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดปัตตานี
- กรรมการประจำวิทยาลัยครูยะลา
- กรรมการสหวิทยาลัยทักษิณ
- กรรมการที่ปรึกษาด้านการศึกษา ศอ.บต.
- กรรมการและที่ปรึกษา/วิทยากรในการอบรมต่าง ๆ แก่หน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย
- กรรมการที่ปรึกษาชมรมกิจกรรมนักศึกษา
- รองคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2517-2518
- รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2518-2520
- ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2521-2522
- คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2527-2531
- รักษาการคณบดีคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
- อธิการบดีมหาวิทยาลัยหาดใหญ่
- รองประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- กรรมการประจำคณะศึกษาศาสตร์
- กรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย
- กรรมการพัฒนามหาวิทยาลัย
- กรรมการพิจารณาผลงานทางวิชาการ
- กรรมการบัณฑิตศึกษา ประจำคณะศึกษาศาสตร์
- กรรมการการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เขตการศึกษา 2
- กรรมการการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จังหวัดปัตตานี
- กรรมการประจำวิทยาลัยครูยะลา
- กรรมการสหวิทยาลัยทักษิณ
- กรรมการที่ปรึกษาด้านการศึกษา ศอ.บต.
- กรรมการและที่ปรึกษา/วิทยากรในการอบรมต่าง ๆ แก่หน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย
- กรรมการที่ปรึกษาชมรมกิจกรรมนักศึกษา
ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง
- เป็นผู้บุกเบิกการเปิดสอนวิชาเอก-โท ทางการศึกษาและที่เกี่ยวข้องในระดับปริญญาตรี
เช่น การบริหารการศึกษา พลศึกษา สุขศึกษา จิตวิทยา การแนะแนว การวัดผล
การศึกษา บรรณารักษศาสตร์ โสตทัศนศึกษา เป็นต้น ในขณะเป็นหัวหน้าภาควิชา
การศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2512
- เป็นผู้เสนอความคิดให้มีการสอบคัดเลือกโดยวิธีรับตรงจากนักเรียนในจังหวัดภาคใต้
ตั้งแต่เห็นว่านักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์เลือกเข้าเรียนในระดับ 5-6 เป็นส่วนใหญ่
ในระหว่างเป็นหัวหน้าภาควิชาการศึกษาและรองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ระหว่าง
ระหว่าง พ.ศ. 2513-2517
- การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเสนอคำ "วิทยาเขต" แทนคำ "ศูนย์" หรือ "Campus"
ต่อราชบัณฑิตสภา เพื่อพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากราชบัณฑิตยสภาให้ใช้
คำว่า "วิทยาเขต" เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ในขณะเป็นรองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ และกำลังวางแผนแยกสำนักงานอธิการบดีจากสำนักงานอธิการบดี
ที่หาดใหญ่มาไว้ที่ปัตตานีส่วนหนึ่ง (นายแพทย์สวัสดิ์ สกุลไท อธิการบดีในขณะนั้นเป็นผู้เสนอ)เมื่อ พ.ศ. 2517
- การดำเนินการโครงการจัดตั้งสำนักเทคโนโลยีทางการศึกษา (อาคาร 16) ในขณะเป็น
รองอธิการบดี เมื่อ พ.ศ. 2517-2518
- การก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ (โรงยิมเนเซียม) ในขณะเป็นรองอธิการบดี
(ผศ. โสภณ เอี่ยมสุวรรณ เป็นผู้ดำเนินการประสานงาน) เมื่อ พ.ศ. 2517-2518
- การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสร้างพระบรมรูปสมเด็จพระราชบิดา และให้ประดิษฐานอยู่
หน้าอาคารสำนักงานอธิการบดีและย้ายเสาธงไปไว้หน้าอาคารเรียน 1 ในขณะเป็น
รองอธิการบดี (ร่วมกับมหาวิทยาลัยฯ นายแพทย์วิทยา ยุวชิต และคณะกรรมการ)
เมื่อ พ.ศ. 2518
- การกำหนดระบบงานของสำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานีเป็นครั้งแรก ในขณะเป็น
รองอธิการบดี ประจำที่วิทยาเขตปัตตานีเป็นคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2518
- การติดตั้งชุมสายโทรศัพท์ภายในวิทยาเขตปัตตานี 100 หมายเลขแรก ในขณะเป็น
รองอธิการบดี เมื่อ พ.ศ. 2519 (อาจารย์ปรีชา เกตุพุก ประสานงาน)
การสร้างสนามกีฬาและโซนกีฬาให้เป็นสัดส่วนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ สนาม
ฟุตบอล ลู่วิ่ง สระว่ายน้ำ (ต้องดำเนินการสร้างใหม่หลังจากมีผู้ทิ้งงานซึ่งสร้างด้วย
เงินบริจาค) ในขณะเป็นรองอธิการบดี (ผศ.โสภณ เอี่ยมสุวรรณ ประสานงานและดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2517-2519)
- การเสนอหลักสูตรและเปิดสอนวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา, ศิลปศึกษา
ในระดับปริญญาตรี และหลักสูตรการบริหารการศึกษา, ศึกษาศาสตร์เพื่อ
พัฒนาชุมชน (รศ.ดร.ชำนาญ ประทุมสินธุ์ ริเริ่มมาก่อน) ในระดับปริญญาโท
ในขณะเป็นคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ระหว่างพ.ศ. 2527-2531
- จัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็ก ในระหว่างเป็นคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ (ดำเนินการและประสานงาน
โดย ผศ.ดร.สุวิทย์ บุญช่วย) เมื่อ พ.ศ. 2530
- การแก้ปัญหาอัตราการบรรจุอาจารย์ โรงเรียนสาธิตที่คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ
ไม่อนุมัติ จนได้รับการบรรจุจนครบถ้วนทั้ง 30 อัตราที่ได้รับอนุมัติกรอบ ในขณะเป็น
คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2527-2528
ฯลฯ
เช่น การบริหารการศึกษา พลศึกษา สุขศึกษา จิตวิทยา การแนะแนว การวัดผล
การศึกษา บรรณารักษศาสตร์ โสตทัศนศึกษา เป็นต้น ในขณะเป็นหัวหน้าภาควิชา
การศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2512
- เป็นผู้เสนอความคิดให้มีการสอบคัดเลือกโดยวิธีรับตรงจากนักเรียนในจังหวัดภาคใต้
ตั้งแต่เห็นว่านักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์เลือกเข้าเรียนในระดับ 5-6 เป็นส่วนใหญ่
ในระหว่างเป็นหัวหน้าภาควิชาการศึกษาและรองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ระหว่าง
ระหว่าง พ.ศ. 2513-2517
- การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเสนอคำ "วิทยาเขต" แทนคำ "ศูนย์" หรือ "Campus"
ต่อราชบัณฑิตสภา เพื่อพิจารณาและได้รับความเห็นชอบจากราชบัณฑิตยสภาให้ใช้
คำว่า "วิทยาเขต" เป็นครั้งแรกในประเทศไทย ในขณะเป็นรองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ และกำลังวางแผนแยกสำนักงานอธิการบดีจากสำนักงานอธิการบดี
ที่หาดใหญ่มาไว้ที่ปัตตานีส่วนหนึ่ง (นายแพทย์สวัสดิ์ สกุลไท อธิการบดีในขณะนั้นเป็นผู้เสนอ)เมื่อ พ.ศ. 2517
- การดำเนินการโครงการจัดตั้งสำนักเทคโนโลยีทางการศึกษา (อาคาร 16) ในขณะเป็น
รองอธิการบดี เมื่อ พ.ศ. 2517-2518
- การก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์ (โรงยิมเนเซียม) ในขณะเป็นรองอธิการบดี
(ผศ. โสภณ เอี่ยมสุวรรณ เป็นผู้ดำเนินการประสานงาน) เมื่อ พ.ศ. 2517-2518
- การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสร้างพระบรมรูปสมเด็จพระราชบิดา และให้ประดิษฐานอยู่
หน้าอาคารสำนักงานอธิการบดีและย้ายเสาธงไปไว้หน้าอาคารเรียน 1 ในขณะเป็น
รองอธิการบดี (ร่วมกับมหาวิทยาลัยฯ นายแพทย์วิทยา ยุวชิต และคณะกรรมการ)
เมื่อ พ.ศ. 2518
- การกำหนดระบบงานของสำนักงานอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานีเป็นครั้งแรก ในขณะเป็น
รองอธิการบดี ประจำที่วิทยาเขตปัตตานีเป็นคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2518
- การติดตั้งชุมสายโทรศัพท์ภายในวิทยาเขตปัตตานี 100 หมายเลขแรก ในขณะเป็น
รองอธิการบดี เมื่อ พ.ศ. 2519 (อาจารย์ปรีชา เกตุพุก ประสานงาน)
การสร้างสนามกีฬาและโซนกีฬาให้เป็นสัดส่วนอย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ได้แก่ สนาม
ฟุตบอล ลู่วิ่ง สระว่ายน้ำ (ต้องดำเนินการสร้างใหม่หลังจากมีผู้ทิ้งงานซึ่งสร้างด้วย
เงินบริจาค) ในขณะเป็นรองอธิการบดี (ผศ.โสภณ เอี่ยมสุวรรณ ประสานงานและดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2517-2519)
- การเสนอหลักสูตรและเปิดสอนวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา, ศิลปศึกษา
ในระดับปริญญาตรี และหลักสูตรการบริหารการศึกษา, ศึกษาศาสตร์เพื่อ
พัฒนาชุมชน (รศ.ดร.ชำนาญ ประทุมสินธุ์ ริเริ่มมาก่อน) ในระดับปริญญาโท
ในขณะเป็นคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ระหว่างพ.ศ. 2527-2531
- จัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็ก ในระหว่างเป็นคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ (ดำเนินการและประสานงาน
โดย ผศ.ดร.สุวิทย์ บุญช่วย) เมื่อ พ.ศ. 2530
- การแก้ปัญหาอัตราการบรรจุอาจารย์ โรงเรียนสาธิตที่คณะกรรมการปฏิรูประบบราชการ
ไม่อนุมัติ จนได้รับการบรรจุจนครบถ้วนทั้ง 30 อัตราที่ได้รับอนุมัติกรอบ ในขณะเป็น
คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2527-2528
ฯลฯ
ผลงานทางวิชาการ
รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ
อาจารย์ตัวอย่าง ด้านการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2533
หมายเหตุ
งานอดิเรกของ นายวัน เดชพิชัย คือเล่นดนตรี ฟังเพลง อ่านหนังสือคอมพิวเตอร์และ
อิเล็กทรอนิกส์ มีเป้าหมายของชีวิตคือ ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและผู้ที่ต้องการ
ความช่วยเหลือ เป้าหมายของการทำงานทั้งทางด้านวิชาการและบริหารคือ "ทำเพื่ออนาคตข้างหน้ามากกว่าการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า จึงต้องนึกถึงบทบาทหรือคลื่นลูกใหม่ว่าควรจะสร้างสมความรู้ อุดมการณ์ ศรัทธา ศักยภาพและความพร้อม เพื่อรับช่วงและสืบทอดเจตนารมณ์ต่อไปอย่างเหมาะสม กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง" นอกจากนี้ยังมีความเห็นเพิ่มเติมว่า "ลำพังผู้นำเพียงคนเดียวจะไม่สามารถทำงานได้ดีเท่ากับการรวมพลังของสมาชิกทั้งหมด จึงนึกถึงสมาชิกเสมอถ้าได้รับมอบหมายงานใด ๆ
อิเล็กทรอนิกส์ มีเป้าหมายของชีวิตคือ ทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมและผู้ที่ต้องการ
ความช่วยเหลือ เป้าหมายของการทำงานทั้งทางด้านวิชาการและบริหารคือ "ทำเพื่ออนาคตข้างหน้ามากกว่าการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า จึงต้องนึกถึงบทบาทหรือคลื่นลูกใหม่ว่าควรจะสร้างสมความรู้ อุดมการณ์ ศรัทธา ศักยภาพและความพร้อม เพื่อรับช่วงและสืบทอดเจตนารมณ์ต่อไปอย่างเหมาะสม กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง" นอกจากนี้ยังมีความเห็นเพิ่มเติมว่า "ลำพังผู้นำเพียงคนเดียวจะไม่สามารถทำงานได้ดีเท่ากับการรวมพลังของสมาชิกทั้งหมด จึงนึกถึงสมาชิกเสมอถ้าได้รับมอบหมายงานใด ๆ