ผดุงยศ ดวงมาลา
ผดุงยศ ดวงมาลา
รองศาสตราจารย์
ประวัติ
นายผดุงยศ ดวงมาลา (Mr. Padoongyot Duangmala) เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย นับถือศาสนาพุทธ เกิดเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2491 ที่จังหวัดศรีษะเกษ เป็นบุตรคนที่ 2 ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 8 คน ของ ร.ต.ต.สุวรรณ และนางฉบับ ดวงมาลา
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญคือ วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ
นายผดุงยศ ดวงมาลา เสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562
สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญคือ วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ
นายผดุงยศ ดวงมาลา เสียชีวิตเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562
การศึกษา
- ม.ศ.5 (วิทยาศาสตร์) โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2509
- ปริญญาตรี สาขาปฐพีศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2513
- ปริญญาโท สาขาการศึกษาวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518
- ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพจาก Shizuoka University ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2528
- ปริญญาตรี สาขาปฐพีศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2513
- ปริญญาโท สาขาการศึกษาวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518
- ประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพจาก Shizuoka University ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2528
การฝึกอบรม ดูงาน
- ประกาศนียบัตร "แผนและโครงการ" สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2526
- ประกาศนียบัตรภาษาญี่ปุ่น (Cert. in Japanese) Shizuok University พ.ศ. 2527
- ประกาศนียบัตร "พัฒนบริหาร" สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2529
- ประกาศนียบัตรภาษาญี่ปุ่น (Cert. in Japanese) Shizuok University พ.ศ. 2527
- ประกาศนียบัตร "พัฒนบริหาร" สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ พ.ศ. 2529
สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก
- สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
- สมาชิกตลอดชีพสมาคมความเข้าใจอันดีระหว่างชาติเกาะฮอคไคโดใต้ ประเทศญี่ปุ่น
- สมาชิกตลอดชีพสมาคมความเข้าใจอันดีระหว่างชาติเกาะฮอคไคโดใต้ ประเทศญี่ปุ่น
การทำงาน
- ครูตรีวิทยาลัยเกษตรกรรมกาฬสินธุ์ กรมอาชีวศึกษา พ.ศ. 2513-2514
- อาจารย์วิทยาลัยครูสกลนคร กรมการฝึกหัดครู พ.ศ. 2515-2519
- อาจารย์-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2520-2527
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พ.ศ. 2528-
- รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2544-
- อาจารย์วิทยาลัยครูสกลนคร กรมการฝึกหัดครู พ.ศ. 2515-2519
- อาจารย์-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2520-2527
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
พ.ศ. 2528-
- รองศาสตราจารย์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2544-
ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ
- หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2524 - 1 พฤศจิกายน 2525
- ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี ระหว่างวันที่ 16 สิงหาคม 2525-1 ตุลาคม 2526 และวันที่ 1 มิถุนายน 2528 - 30 พฤษภาคม 2531
- คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2532-30 กันยายน 2534
- รองอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2534 - 2540
- รองอธิการบดีวิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2546 – 31 มีนาคม 2549
ระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม 2524 - 1 พฤศจิกายน 2525
- ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี ระหว่างวันที่ 16 สิงหาคม 2525-1 ตุลาคม 2526 และวันที่ 1 มิถุนายน 2528 - 30 พฤษภาคม 2531
- คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2532-30 กันยายน 2534
- รองอธิการบดี วิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2534 - 2540
- รองอธิการบดีวิทยาเขตปัตตานี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม 2546 – 31 มีนาคม 2549
ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง
- การปรับปรุงวิชาการศึกษาทั่วไปทางด้านวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เพื่อให้เหมาะสมกับนักศึกษาในแต่ละคณะ เมื่อดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะศึกษาศาสตร์
- การปรับปรุงหลักสูตรการผลิตครูวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อกาลเวลา เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะศึกษาศาสตร์
- จัดระบบงานวิจัยสถาบัน วิทยาเขตปัตตานี เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา วิทยาเขตปัตตานี
- การจัดหาทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งคณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- การปรับปรุงหลักสูตรการผลิตครูวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อกาลเวลา เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งหัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะศึกษาศาสตร์
- จัดระบบงานวิจัยสถาบัน วิทยาเขตปัตตานี เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวางแผนและพัฒนา วิทยาเขตปัตตานี
- การจัดหาทุนเพื่อจัดตั้งกองทุนคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งคณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผลงานทางวิชาการ
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2529. "การศึกษาในญี่ปุ่น : หลักสูตรและการเรียนการ
สอนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา", วารสารศึกษาศาสตร์, 2
(กุมภาพันธ์-พฤษภาคม), 24-35.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2519. "การสร้างบทเรียนบทโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่องการจัดจำพวกสัตว์สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา",
วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชามัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2530. การสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2.
ปัตตานี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ผดุงยศ ดวงมาลา. ม.ป.ป. กิจกรรมเสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร์. ปัตตานี: คณะศึกษา
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2522. ชุดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์
(เอกสารคำสอนแบบฝึกหัดชุดสไลด์ เทป) กรุงเทพฯ :
อนุกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัย.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2529. "ญี่ปุ่น : กลไกสูบวิทยาการจากตะวันตก", วารสาร
ศึกษาศาสตร์, 2(ตุลาคม 2528 - มกราคม 2529), 6-12.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2528. "ญี่ปุ่น : การศึกษาและการหางานทำ", วารสาร
ศึกษาศาสตร์, 1(กุมภาพันธ์-พฤษภาคม), 25-29.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2531. ประวัติวิทยาศาสตร์. ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2530. "ปัญหาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา
ในเขตการศึกษา 2, 3 และ 4". ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (สำเนา) ทุนอุดหนุนของสภาวิจัยแห่งชาติ.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2542. วิทยาศาสตร์บรรยากาศ. ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผดุงยศ ดวงมาลา. ม.ป.ป. วิธีสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต : วิทยาศาสตร์.
สกลนคร: คณะวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูสกลนคร.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2530. สภาพปัญหาในการสอนและการจัดกิจกรรมการทดลองทาง
วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ของประเทศไทย. ปัตตานี:
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2525. สมรรถภาพครูมัธยมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารครู-
อาจารย์และนักเรียนมัธยมศึกษา. ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ทุนอุดหนุนของสภาวิจัยแห่งชาติ.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2529. สมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์ตามความคิดเห็นของนักเรียน ครู-
อาจารย์และผู้บริหารการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคใต้ของประเทศไทย.
ปัตตานี: ภาควิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ทุนสมาคมความเข้าใจอันดีระหว่างชาติแห่งญี่ปุ่น
สาขาชิมิทสึ 2529.
สิ่งประดิษฐ์
"ชุดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์" จัดทำในฐานะ
อนุกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของทบวงมหาวิทยาลัย
ระหว่างปี 2522-2525 ชุดการเรียนการสอนนี้ประกอบด้วยเอกสาร
คำสอน แบบฝึกหัด ชุดสไลด์-เทป ประกอบ ทบวงมหาวิทยาลัยได้มอบ
หมายให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ไปดำเนินการใช้เพื่อปรับปรุงเทคนิควิธีใน
โปรแกรมผลิตครูวิทยาศาสตร์ ระดับปริญญาตรี
สอนวิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษา", วารสารศึกษาศาสตร์, 2
(กุมภาพันธ์-พฤษภาคม), 24-35.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2519. "การสร้างบทเรียนบทโปรแกรมวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่องการจัดจำพวกสัตว์สำหรับระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา",
วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต แผนกวิชามัธยมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2530. การสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2.
ปัตตานี : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
ผดุงยศ ดวงมาลา. ม.ป.ป. กิจกรรมเสริมหลักสูตรวิทยาศาสตร์. ปัตตานี: คณะศึกษา
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2522. ชุดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์
(เอกสารคำสอนแบบฝึกหัดชุดสไลด์ เทป) กรุงเทพฯ :
อนุกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทบวงมหาวิทยาลัย.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2529. "ญี่ปุ่น : กลไกสูบวิทยาการจากตะวันตก", วารสาร
ศึกษาศาสตร์, 2(ตุลาคม 2528 - มกราคม 2529), 6-12.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2528. "ญี่ปุ่น : การศึกษาและการหางานทำ", วารสาร
ศึกษาศาสตร์, 1(กุมภาพันธ์-พฤษภาคม), 25-29.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2531. ประวัติวิทยาศาสตร์. ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2530. "ปัญหาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา
ในเขตการศึกษา 2, 3 และ 4". ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (สำเนา) ทุนอุดหนุนของสภาวิจัยแห่งชาติ.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2542. วิทยาศาสตร์บรรยากาศ. ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ผดุงยศ ดวงมาลา. ม.ป.ป. วิธีสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต : วิทยาศาสตร์.
สกลนคร: คณะวิชาครุศาสตร์ วิทยาลัยครูสกลนคร.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2530. สภาพปัญหาในการสอนและการจัดกิจกรรมการทดลองทาง
วิทยาศาสตร์ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในภาคใต้ของประเทศไทย. ปัตตานี:
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2525. สมรรถภาพครูมัธยมศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารครู-
อาจารย์และนักเรียนมัธยมศึกษา. ปัตตานี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ทุนอุดหนุนของสภาวิจัยแห่งชาติ.
ผดุงยศ ดวงมาลา. 2529. สมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์ตามความคิดเห็นของนักเรียน ครู-
อาจารย์และผู้บริหารการศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในเขตภาคใต้ของประเทศไทย.
ปัตตานี: ภาควิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. ทุนสมาคมความเข้าใจอันดีระหว่างชาติแห่งญี่ปุ่น
สาขาชิมิทสึ 2529.
สิ่งประดิษฐ์
"ชุดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาสมรรถภาพครูวิทยาศาสตร์" จัดทำในฐานะ
อนุกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของทบวงมหาวิทยาลัย
ระหว่างปี 2522-2525 ชุดการเรียนการสอนนี้ประกอบด้วยเอกสาร
คำสอน แบบฝึกหัด ชุดสไลด์-เทป ประกอบ ทบวงมหาวิทยาลัยได้มอบ
หมายให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ไปดำเนินการใช้เพื่อปรับปรุงเทคนิควิธีใน
โปรแกรมผลิตครูวิทยาศาสตร์ ระดับปริญญาตรี
รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ
หมายเหตุ
งานอดิเรกของ นายผดุงยศ ดวงมาลา คือถ่ายภาพ อ่านหนังสือ ปลูกต้นไม้ มีเป้าหมายของชีวิตคือ อยากเห็นมนุษย์ทั้งหลายซึ่งเป็นเพื่อนร่วมสังคม ลดละความเห็นแก่ตัว ความเห็นแก่ได้ลงเสียบ้าง สังคมมนุษย์จะมีความน่าอยู่มากขึ้น ส่วนเป้าหมายของการงานทั้งทางด้านวิชาการและบริหารคืออยากจะ
ให้มหาวิทยาลัยทำหน้าที่สถาบันอุดมศึกษาตามมาตรฐานสากลอย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังมีความเห็นอีกว่าอยากให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความรัก ความสามัคคี เพื่อจะได้ร่วมมือกันทำงานให้มีคุณภาพยิ่ง ๆ ขึ้นไป
ให้มหาวิทยาลัยทำหน้าที่สถาบันอุดมศึกษาตามมาตรฐานสากลอย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังมีความเห็นอีกว่าอยากให้บุคลากรของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีความรัก ความสามัคคี เพื่อจะได้ร่วมมือกันทำงานให้มีคุณภาพยิ่ง ๆ ขึ้นไป