ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์
ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์
ศาสตราจารย์ ดร.
การศึกษา
- มัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอำนวยศิลป์ พ.ศ. 2484
- เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2487
- แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2495
- Dr. Med. มหาวิทยาลัยฮัมเบร์ก ประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2502
- M. Ed. มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2515
- เตรียมอุดมศึกษา โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2487
- แพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2495
- Dr. Med. มหาวิทยาลัยฮัมเบร์ก ประเทศเยอรมนี พ.ศ. 2502
- M. Ed. มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2515
การฝึกอบรม ดูงาน
- Neurophysiology คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน เซ็นต์หลุยส์ มิสซูรี สหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2508-2509
- Electroencephalography ณ Institute of Neurology Queen Square, London, U.K. พ.ศ. 2502 เป็นเวลา 3 เดือน
- Electroencephalography ณ Institute of Neurology Queen Square, London, U.K. พ.ศ. 2502 เป็นเวลา 3 เดือน
สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก
- แพทยสภา
- แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย
- มูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- แพทยสมาคมแห่งประเทศไทย
- มูลนิธิมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
การทำงาน
- แพทย์ประจำบ้านอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พ.ศ. 2495-2497
- อาจารย์แผนกวิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พ.ศ. 2497
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2515
- เกษียณอายุราชการ เมื่อ พ.ศ. 2532
- อาจารย์แผนกวิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พ.ศ. 2497
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์และรองศาสตราจารย์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2510 และ พ.ศ. 2515
- เกษียณอายุราชการ เมื่อ พ.ศ. 2532
ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ
- เลขานุการคณะแพทยศาสตร์และเลขานุการกรรมการประจำคณะฯ พ.ศ.2512-2518
- หัวหน้าหน่วยแพทยศาสตร์ศึกษา พ.ศ.2515
- รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518-2521
- ผู้อำนวยการโครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท (MESRAP) ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2521
- ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกทางบุคลากรสาธารณสุขประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- รักษาการคณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 19 กุมภาพันธ์ 2522 - 19 กรกฎาคม 2522
- อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 19 กรกฎาคม 2522 - 31 พฤษภาคม 2528 (2 วาระติดต่อกัน)
- ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกด้านแพทยศาสตร์ศึกษา ประจำประเทศบังคลาเทศ พ.ศ. 2529-2531
- ผู้ช่วยเลขาธิการสภาการชาดไทย ฝ่ายพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2532-2533
- รักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย พ.ศ. 2533
- ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ.2539-2543
- ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาและประกันคุณภาพการศึกษา (พปค.) สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
- หัวหน้าหน่วยแพทยศาสตร์ศึกษา พ.ศ.2515
- รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2518-2521
- ผู้อำนวยการโครงการส่งเสริมการศึกษาแพทย์สำหรับชาวชนบท (MESRAP) ของคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ.2521
- ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกทางบุคลากรสาธารณสุขประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- รักษาการคณบดี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 19 กุมภาพันธ์ 2522 - 19 กรกฎาคม 2522
- อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 19 กรกฎาคม 2522 - 31 พฤษภาคม 2528 (2 วาระติดต่อกัน)
- ที่ปรึกษาองค์การอนามัยโลกด้านแพทยศาสตร์ศึกษา ประจำประเทศบังคลาเทศ พ.ศ. 2529-2531
- ผู้ช่วยเลขาธิการสภาการชาดไทย ฝ่ายพัฒนาบุคลากร พ.ศ. 2532-2533
- รักษาการผู้อำนวยการวิทยาลัยพยาบาล สภากาชาดไทย พ.ศ. 2533
- ผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งศูนย์วิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ.2539-2543
- ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาและประกันคุณภาพการศึกษา (พปค.) สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง
- ดำเนินการจัดตั้งคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขณะดำรงตำแหน่ง อธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2525-2528
- จัดตั้งสำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยอิสลามศึกษา และวิทยาลัยชุมชนภูเก็ตขึ้นเป็นหน่วยงานเทียบเท่าคณะ
- เริ่มเปิดสอนหลักสูตรอิสลามศึกษาขึ้นในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- รับนักเรียนจากโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลามเข้าเรียนในโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อให้มีโอกาสเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น
- จัดตั้งศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในการที่จะผสมผสานกลุ่มและบุคคลต่าง ๆ ให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
- จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมราชชนกที่วิทยาเขตหาดใหญ่
- ดำเนินการสืบเนื่อง จัดสร้างอาคารสำนักงานอธิการบดีโดยได้รับความอนุเคราะห์จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด จนสำเร็จ
- เวนคืนที่ดิน และดำเนินงานให้ผู้บุกรุกออกจากเขตมหาวิทยาลัย วิทยาเขตหาดใหญ่
- ดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลสงขลานครินทร์จนแล้วเสร็จ เปิดให้บริการในส่วน 100 เตียง ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525
- ผลักดันให้สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ดำเนินการออกอากาศได้ในปี 2524
- ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ การสอน การวิจัย และการประยุกต์ใช้ความรู้ และวิทยาการเพื่อพัฒนาประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัยออสเตรเลียตะวันตก มหาวิทยาลัยอาเบอร์ดีน มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ และมาหวิทยาลัยมิสซูรี
- จัดตั้งสำนักส่งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง ศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิจัยและพัฒนา วิทยาลัยอิสลามศึกษา และวิทยาลัยชุมชนภูเก็ตขึ้นเป็นหน่วยงานเทียบเท่าคณะ
- เริ่มเปิดสอนหลักสูตรอิสลามศึกษาขึ้นในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- รับนักเรียนจากโรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลามเข้าเรียนในโรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อให้มีโอกาสเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาเพิ่มมากขึ้น
- จัดตั้งศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความเข้าใจในการที่จะผสมผสานกลุ่มและบุคคลต่าง ๆ ให้เกิดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของสังคม
- จัดสร้างพระบรมราชานุสาวรีย์พระบรมราชชนกที่วิทยาเขตหาดใหญ่
- ดำเนินการสืบเนื่อง จัดสร้างอาคารสำนักงานอธิการบดีโดยได้รับความอนุเคราะห์จากธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด จนสำเร็จ
- เวนคืนที่ดิน และดำเนินงานให้ผู้บุกรุกออกจากเขตมหาวิทยาลัย วิทยาเขตหาดใหญ่
- ดำเนินการก่อสร้างอาคารโรงพยาบาลสงขลานครินทร์จนแล้วเสร็จ เปิดให้บริการในส่วน 100 เตียง ในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2525
- ผลักดันให้สถานีวิทยุกระจายเสียงมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ดำเนินการออกอากาศได้ในปี 2524
- ได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ การสอน การวิจัย และการประยุกต์ใช้ความรู้ และวิทยาการเพื่อพัฒนาประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัยออสเตรเลียตะวันตก มหาวิทยาลัยอาเบอร์ดีน มหาวิทยาลัยควีนส์แลนด์ และมาหวิทยาลัยมิสซูรี
ผลงานทางวิชาการ
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2531. "การเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนกลุ่มย่อย", สงขลานครินทร์เวชสาร 6(กรกฎาคม-กันยายน), 330-333.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2531. "ทักษะการแก้ปัญหากับการเรียนรู้โดยการใช้ปัญหาเป็นหลัก",
สงขลานครินทร์เวชสาร, 6(เมษายน-มิถุนายน), 222-224.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2530. "ทิศทางของแพทยศาสตร์ศึกษา : 13 ปี ก่อน ค.ศ. 2000",
สงขลานครินทร์เวชสาร, 5(กรกฎาคม-กันยายน), 345-349.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2530. "ทิศทางใหม่ของการอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศ", วารสารวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 11(มกราคม-มิถุนายน), 96-105.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2521. "การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต", สารศิริราช,
(30), 2243-2254.
- กอบจิตต์ ลิมปพยอม และทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2517. "วิธีบรรยายที่ดีควรเป็นอย่างไร", จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 19(2517), 59-72.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2516. "การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตร์", แพทยสภาสาร, 2(กรกฎาคม 2516), 487-500.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ และไพรัช วิเชียรเกื้อ. 2516. "ความเร็วกระแสชักนำประสาทสั่งการของคนไทย ", จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 18(2516), 315-321.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2531. "ทักษะการแก้ปัญหากับการเรียนรู้โดยการใช้ปัญหาเป็นหลัก",
สงขลานครินทร์เวชสาร, 6(เมษายน-มิถุนายน), 222-224.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2530. "ทิศทางของแพทยศาสตร์ศึกษา : 13 ปี ก่อน ค.ศ. 2000",
สงขลานครินทร์เวชสาร, 5(กรกฎาคม-กันยายน), 345-349.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2530. "ทิศทางใหม่ของการอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศ", วารสารวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 11(มกราคม-มิถุนายน), 96-105.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2521. "การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต", สารศิริราช,
(30), 2243-2254.
- กอบจิตต์ ลิมปพยอม และทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2517. "วิธีบรรยายที่ดีควรเป็นอย่างไร", จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 19(2517), 59-72.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์. 2516. "การพัฒนาหลักสูตรแพทยศาสตร์", แพทยสภาสาร, 2(กรกฎาคม 2516), 487-500.
- ทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ และไพรัช วิเชียรเกื้อ. 2516. "ความเร็วกระแสชักนำประสาทสั่งการของคนไทย ", จุฬาลงกรณ์เวชสาร, 18(2516), 315-321.
รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ
- เหรียญทองรางวัลเรียนดีตลอดหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. 2495
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2528
- อาจารย์ดีเด่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2531
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2535
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2547
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2547
- ได้รับพระราชทานเหรียญรางวัล เจ้าฟ้าสุทธาทิพย์จากองค์อุปนายิกา สภากาชาดไทย ในฐานะที่เป็นผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ในด้านการพัฒนาองค์กรและวิชาการให้แก่สภากาชาดไทย
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2528
- อาจารย์ดีเด่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2531
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2535
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2547
- ปริญญาแพทยศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ. 2547
- ได้รับพระราชทานเหรียญรางวัล เจ้าฟ้าสุทธาทิพย์จากองค์อุปนายิกา สภากาชาดไทย ในฐานะที่เป็นผู้ทำคุณประโยชน์ดีเด่น ในด้านการพัฒนาองค์กรและวิชาการให้แก่สภากาชาดไทย
หมายเหตุ
งานอดิเรกของ นายทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ คือ อ่านหนังสือ มีเป้าหมายของชีวิตคือ จะทำงานที่รับผิดชอบให้ดีที่สุด และอยากจะเห็นประเทศไทยเป็นประชาธิปไตย โดยไม่มีการปฏิวัติรัฐประหาร สำหรับเป้าหมายของการงานทั้งด้านวิชาการและบริหาร คือ การผลิตบุคลากรสาธารณสุขทุกประเภทให้ตรงกับ
ความต้องการของประเทศ
ปัจจุบัน นายทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ พักอยู่ที่บ้านเลขที่
695 ถนนลาดพร้าว แขวงลาดยาว เขตจตุจักรกรุงเทพมหานคร
ความต้องการของประเทศ
ปัจจุบัน นายทองจันทร์ หงศ์ลดารมภ์ พักอยู่ที่บ้านเลขที่
695 ถนนลาดพร้าว แขวงลาดยาว เขตจตุจักรกรุงเทพมหานคร