อิสมาแอ อาลี

Print Friendly, PDF & Email

อิสมาแอ อาลี

รองศาสตราจารย์ ดร.

ประวัติ

นายอิสมาแอ อาลี เกิดเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ.2493

การศึกษา

- ปริญญาตรี สาขาชารีอะฮฺ(เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยอิสลามแห่งมะดีนะฮฺ ซาอุดิอารเบีย พ.ศ.2520
- ปริญญาตรี สาขาดะวะฮฺและอุศูลุดดีน มหาวิทยาลัยอิสลามแห่งมะดีนะฮฺ ซาอุดิอารเบีย พ.ศ.2520
- ปริญญาโท สาขาอัลฟิกฮฺ(ดีเยี่ยม)มหาวิทยาลัยแห่งมะดีนะฮฺ ซาอุดิอารเบีย พ.ศ.2524
- ปริญญาเอก สาขาอัลฟิกฮฺ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) มหาวิทยาลัยอิสลามแห่งมะดีนะฮฺ ซาอุดิอารเบีย พ.ศ.2528

การฝึกอบรม ดูงาน

- ร่วมประชุมเรื่อง “ ดะอฺวะฮฺอิสลามียะฮฺในเอเชียและแปซิฟิก : ปัจจุบันและอนาคต” ณ กรุงจาการ์ตา จัดโดยกระทรวงกิจการศาสนาอินโดนีเซียร่วมกับกระทรวงกิจการศาสนาอิสลามของซาอุดีอารเบีย ระหว่างวันที่ 22-24 กันยายน 2538
- ร่วมประชุมสัมมนา” International Workshop on Islam in Southeast Asia ณ ประเทสมาเลเซีย จัดโดย University of Malaya ร่วมกับ The Center of Muslim-Cristian Understanding, Geogetown U. Washington D.C. ระหว่างวันที่ 4-9 มีนาคม 2539
- ร่วมประชุมสันานานชาติ เรื่อง “อิสลามในศตวรรษที่ 21” ณ Leiden U. ประเทศเนเธอร์แลนด์ จัดโดย Indonesian-Netherland Cooperation in Islamic Studies(INIS) ระหว่างวันที่ 1-10 มิถุนายน 2539
- เยือนประเทศซาอุดีอาราเบียในฐานะแขกกระทรวงการอุดมศึกษาและราชสำนัก เพื่อเยี่ยมชมหน่วยงานต่างๆ และแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่มีการเรียนการสอนด้านอิสลามศึกษา ระหว่างวันที่ 17-29 มิถุนายน 2539
- ดูงานการจัดการศึกษาทางด้านอิสลามศึกษาในประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย อียิปต์และซูดานโดยใช้งบเข็มแข็งของวิทยาลัยอิสลามศึกษา
- ดูงานทางอิสลามศึกษาในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย ปากีสถาน จอร์แดนและตุรกี โดยใช้งบประมาณพัฒนาจังหวัดปัตตานี ประจำปีงบประมาณ 2548

สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก

การทำงาน

- อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญาและศาสนาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2529-2533
- อาจารย์ประจำภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2529-2533
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา พ.ศ.2540 – 2549
- รองศาสตราจารย์ ภาควิชาอิสลามศึกษา วิทยาล้ยอิสลามศึกษา พ.ศ.2549 - ปัจจุบัน

ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ

- รองผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งวิทยาลัยอิสลามศึกษา 3 มิถุนายน 2530 – 31 ธันวาคม 2532
- รองผู้อำนวยการโครงการจัดตั้งวิทยาลัยอิสลามศึกษา 3 มิถุนายน 2530 – 31 ธันวาคม 2532
- รักษาการในตำแหน่งรองผู้อำนวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา 1 มกราคม 2533 – 31 มีนาคม 2533
- ผู้อำนวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา 1 เมษายน 2533 – 14 มิถุนายน 2541
- ผู้จัดการหลักสูตร ป.โท อิสลามศึกษา พฤษภาคม 2541- พฤษภาคม 2545
- ผู้อำนวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา 1 สิงหาคม 2545 – ปัจจุบัน
- คณะกรรมการที่ปรึกษาซะรีอะฮฺ เมืองไทยตะกะฟุล www.muangthaitakaful.com
- คณะกรรมการที่ปรึกษาชะรีอะฮฺ ตลาดหลักทรัพย์ มาเลเซีย( Syariah Advisory Council, Securities Commission, KL )
- คณะกรรมการที่ปรึกษาธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
- ที่ปรึกษาสหกรณ์ออมทรัพย์อิบนุอัฟฟานปัตตานี
- กรรมการสภาวิทยาลัยอิสลามยะลา
- คณะที่ปรึกษากองทุน MFC อิสลามิกฟันด์
- สมาชิกสภาที่ปรึกษาเสริมสร้างสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอบต)
- กรรมการนโยบายศูณย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี (ม.มหิดล)
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (2549-2551)
- คณะกรรมการที่ปรึกษาศูญย์ปฏิบัติการส่วนหน้า สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
- ผู้ทรงคุณวุฒิจุฬาราชมนตรี
- กรรมการสร้างข้อสอบและตรวจความถูกต้อง และคุณภาพข้อสอบตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ตามหลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2530 ของกรมการศึกษานอกโรงเรียน
- คณะทำงานโครงการเขตเศรษฐกิจสามเส้าอินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไทย
- กรรมการชุดการศึกษานอกโรงเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (หมวดวิชาศาสนาชุดวิชากฎหมายอิสลาม)
- กรรมการสรรหาอธิการบดี พ.ศ. 2539
- กรรมการร่างข้อบังคับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว่าด้วยการสรรหาอธิการบดี พ.ศ. 2537
- คณะทำงานเพื่อสันติภาพจังหวัดชายแดนภาคใต้
- รองประธานกรรมาธิการวิสามัญรับฟังความคิดเห็นและประชาสัมพันธ์จังหวัดปัตตานี(สสร) ในการรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540
- คณะทำงานศึกษาความเป็นไปได้ในที่จะให้วิทยาเขตปัตตานี เป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศ พ.ศ. 2541(แต่งตั้งโดยสภา มอ)
- ที่ปรึกษาคณะทำงานติดตามและสนับสนุนโครงการร่วมมือ ไทย-สหประชาชาติ
- กรรมการที่ปรึกษาศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ฝ่ายสังคมและเศรษฐกิจ

ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง

ผลงานทางวิชาการ

1. หนังสือ
- อิสมาแอ อาลี. 2547. “กฎหมายครอบครัวอิสลาม” โครงการแปลและเรียงตำราอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุงแก้ไข
- อิสมาแอ อาลี. 2546. “กฎหมายมรดกและพินัยกรรมอิสลาม” พิมพ์ที่โรงพิมพ์มิตรภาพ ปัตตานี
- อิสมาแอ อาลี. 2545. “กฎหมายอิสลามเบื้องต้น” โครงการแปลและเรียบเรียงตำราอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (แปลและเรียบเรียง)
- อิสมาแอ อาลี. 2537. “กฎหมายอิสลาม ความเป็นมา กฎหมายพินัยกรรม” โครงการแปลและ เรียบเรียงตำราอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- อิสมาแอ อาลี. 2535. “อุศูลุลฟิกฮ” โครงการแปลและเรียบเรียงตำราอิสลามศึกษา วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- อิสมาแอ อาลี และมาลิก โยธาสมุทร. 2525. “ระบอบสังคมในอิสลาม” กรุงเทพ สานักพิมพ์สายสัมพันธ์ (แปลและเรียบเรียง)
- อิสมาแอ อาลี. 1405/1985 الحقوق المتعلقة بالتركة (ภาระผูกพันของกองมรดก) วิทยานิพนธ์ ป. เอก มหาวิทยาลัยอิสลามแห่งมะดีนะอฺ ซาอุดิ อารเบีย
- อิสมาแอ อาลี. 1401/1981 الملكية الخاصة في الفقه الاسلامي (กรรมสิทธิ์ส่วนบุคคลใน กฎหมายอิสลาม) วิทยานิพนธ์ ป.โท มหาวิทยาลัยอิสลามแห่งมะดีนะฮฺ ซาอุดิ อารเบีย

2. บทความวิชาการ
- Dr. Isma-ae Alee, 2005 “Instusi Masjid: Fungsi dan Peranannya dalam Pembangunan Masyarakat Islam di Thailand” ใน Masjid Wadah Kepimpinan Raja, Jabatan Perdana Menteri, Negara Brunei Darussalam
- Ismaae Alee, 2000 “Perlaksnaan Undang-Undang Keluarga Islam : Pengalaman Thailand” ใน “Undang-Undang Keluarga Islam dan Wanita Di Negara-Negara Asian” , Institut Kefahaman Islam Malaysia (IKIM)
- Ismaae Alee, 2000 الدراسات الاسلامية في القرن الحادي والعشرين: نظرة خاصة بتايلند ใน Islamic Studies in Asean, College of Islamic Studies, Prince of Songkla University, pattani Campus, Thailand
- Ismail Alee,1996 المشكلات الثقافية والاجتماعية عند مسلمي تايلند ใน المسلمون في اسيا والتحديات الحضارية มหาวิทยาลัยอิสลามมุฮัมมัด อิบนุ สะอูด รียาด ซาอุดิ อารเบีย
- Dr.Ismail Alee,1996 “Sastera Islam di Thailand” ใน “Semposium Serantau Sastera Islam” Dewan Bahasa dan Pustaka, Brunei Darussalam

3. งานวิจัย
- อิสมาแอ อาลี และวรรณา แผนมุนิน. 2548. รายงานวิจัยเรื่อง “ การได้มา บทบาท และหน้าที่ของ ผู้ทำหน้าที่เป็นวะลีย์อามม์ของชาวมุสลิมในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกรณีจังหวัดปัตตานี และสงขลา”

รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ

หมายเหตุ