ครองชัย หัตถา

ครองชัย หัตถา

Print Friendly, PDF & Email

ครองชัย หัตถา

ศาสตราจารย์ ดร.

ประวัติ

นายครองชัย หัตถา เกิดเมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2497 ที่จังหวัดชุมพร

การศึกษา

- กศ.บ. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร พ.ศ.2519
- กศ.ม. (ภูมิศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร พ.ศ.2522
- วท.ด. (ปฐพีวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ.2532

การฝึกอบรม ดูงาน

- การอบรมมัคคุเทศกเฉพาะ (ทางทะเลชายฝั่ง) วันที่ 10 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม 2543 จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (กรรมการฝ่ายวิชาการ)
- การอบรมมัคคุเทศก์เฉพาะ (ไทย-เฉพาะพื้นที่) วันที่ 5-26 พฤษภาคม 2545 จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (กรรมการฝ่ายวิชาการ)
- การอบรมเทคนิคการสํารวจธรณีวิทยาและการจําแนกหินแร่ ระหว่างวันที่ 1-3 พฤษภาคม 2546 จัดโดย ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ประธานจัดฝึกอบรม)
- การอบรมมัคคุเทศก์เฉพาะ (ต่างประเทศ-เฉพาะพื้นที่) วันที่ 1-10 ธันวาคม 2546 จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (กรรมการฝ่ายวิชาการ)
- การอบรมค่ายเยาวชนภูมิศาสตร์ รุ่นที่ 1 วันที่ 21-23 มีนาคม 2548 จัดโดยภาควิชา ภูมิศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ประธานจัดอบรม) จัดต่อเนื่องมาทุกปี จนถึงรุ่นที่ 4 วันที่ 12-15 มีนาคม 2551 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
- การอบรมการพัฒนาบุคลากรส่วนท้องถิ่น อาสาสมัครนําเที่ยวชุมชน วันที่ 18-20 กรกฎาคม จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ร่วมกับศูนย์การท่องเที่ยว กีฬาและนันทนาการ จังหวัดปัตตานี และศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดปัตตานี (กรรมการฝ่ายวิชาการ)
- การอบรมมัคคุเทศก์เฉพาะ (วัฒนธรรมท้องถิ่น) วันที่ 11-17 กันยายน 2549 จัดโดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (กรรมการฝ่ายวิชาการ)
- การประชุม สัมมนาระดับชาติ เรื่อง “ภูมิศาสตร์กับการบริหารจัดการพิบัติภัยเชิงพื้นที่” วันที่ 23-25 มกราคม 2551 ณ โรงแรม ซี เอส ปัตตานี จัดโดย ภาควิชา ภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย (ประธานจัดประชุมสัมมนา)

สมาคม ชมรม มูลนิธิที่เป็นสมาชิก

การทำงาน

- อาจารย์ ระดับ 4 ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ. 2522
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 5 ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2526
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 6 ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2526
- ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 7 ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2533
- รองศาสตราจารย์ ระดับ 8 ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.2536
- ศาสตราจารย์ ระดับ 9 ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี พ.ศ.

ตำแหน่งต่าง ๆ ทางการบริหาร งานวิชาการ และอื่น ๆ

- รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 4 ธันวาคม 2533-2536
- ผู้อํานวยการสํานักส้งเสริมและการศึกษาต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 5 สิงหาคม 2539-2540
- หัวหน้าแผนกวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1 พฤศจิกายน 2542-2544
- หัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1 ตุลาคม 2544- 2548
หัวหน้าภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 1 ตุลาคม 2548- 2552
- กรรมการบริหารสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย ผู้แทนภาคใต้ พ.ศ.
- ที่ปรึกษาสภาอุตสาหกรรมจังหวัดปัตตานี พ.ศ 2538-2540
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาแต่งตั้งตําแหน่งทางวิชาการสาขาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ.2538-ปัจจุบัน
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาแต่งตั้งตําแหน่งทางวิชาการสาขาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาแต่งตั้งตําแหน่งทางวิชาการ สภาสถาบันราชภัฏ พ.ศ 2540-ปัจจุบัน
- กรรมการบัณฑิตศึกษาประจําคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.2540-2541
- ที่ปรึกษาโครงการจัดตั้งศูนย์ประสานงานสมัชชาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย พ.ศ.2540-2542
- คณะทํางานโครงการความร่วมมือไทย-สหประชาชาติ (Thai-UNCAP)พ.ศ.2540-2543
- กรรมการส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดปัตตานี พ.ศ.2542-ปัจจุบัน
- อนุกรรมการพิจารณาแต่งตั้งตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ประจําคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ พ.ศ.2543-2545
- กรรมการโครงการจัดตั้งสถาบันสมุทรรัฐเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา 2543-ปัจจุบัน
- อนุกรรมการวัฒนธรรมจังหวัดปัตตานี พ.ศ.2543-ปัจจุบัน
- กรรมการพิจารณาคัดเลือกศิลปินดีเด่นและผู้มีผลงานดีเด่นด้านวัฒนธรรมพ.ศ.2544-2545
- ที่ปรึกษาสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดปัตตานี พ.ศ.2544-ปัจจุบัน
- ที่ปรึกษาสมาคมธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดนราธิวาส พ.ศ.2545-ปัจจุบัน
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาแต่งตั้งตําแหน่งทางวิชาการสาขาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ.2546-ปัจจุบัน
- คณะทํางานสรรหามัคคุเทศก็ดีเด่นประจําปี 2547 สํานักงานทะเบียนธุรกิจนําเที่ยวและมัคคุเทศก์จังหวัดภาคใต้ เขต 1 พ.ศ.2547-2548
- อนุกรรมการบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ พ.ศ.2547-ปัจจุบัน
- คณะทํางานจัดทําคู่มือครูประวัติศาสตร์ เรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่นคาบสมุทรมลายู (กระทรวงศึกษาธิการ) พ.ศ.2547-ปัจจุบัน
- คณะกรรมการเตรียมการเพื่อเสนอรายชื่อแหล่งโบราณคดีในภาคใต้ของประเทศไทย ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก (กรมศิลปากร) พ.ศ.2548-ปัจจุบัน
- คณะทํางานดําเนินงานศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์และโบราณคดีลุ่มน้ําปัตตานี เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งท่องเที่ยว (กรมศิลปากร) พ.ศ.2548-ปัจจุบัน
- อนุกรรมการเพื่อความปรองดองและความสมานฉันท์ในพื้นที่ในคณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ พ.ศ.2548-2549
- อนุกรรมการดําเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด ในคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดปัตตานี พ.ศ.2548-2549
- กรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ.2548-ปัจจุบัน
- เป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง ภูมิสังคมภาคใต้และประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้ในโครงการพัฒนาบุคลากรภาครัฐและโครงการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ศูนย์อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศูนย์ปฏิบัติการสํานักงานตํารวจแห่งชาติส่วนหน้า กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า กองเรือภาคที่ 2 กองทัพเรือ กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาสันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล ฯลฯ พ.ศ.2558-ปัจจุบัน
- คณะทํางานที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ด้านกิจการจังหวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ.2549-2550
- ที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมความรัก ความสมานฉันท์และพัฒนาชุมชนเข้มแข็งอยู่ร่วมกันสันติสุขใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ พ.ศ.2551-ปัจจุบัน
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา พ.ศ.2551- ปัจจุบัน
- อุปนายกสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ.2552–ปัจจุบัน
- ผู้เชี่ยวชาญภูมิสังคมและสันติวิธี กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายใน ภาค 4 ส่วนหน้า พ.ศ.2552-ปัจจุบัน
- เป็นอาจารย์ผู้สอนวิชา 431-244 Geography of Nusantara (ภูมิศาสตร์ภูมิภาคมลายู)

ผลงานการบริหารขณะอยู่ในตำแหน่ง

ผลงานทางวิชาการ

1. ประเภทหนังสือ
1.1 ครองชัย หัตถา. 2533. มนุษยนิเวศวิทยา. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
1.2 ครองชัย หัตถา. 2536. การจัดการดินพรุ. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
1.3 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. 2538 . ธรณีสัณฐานประเทศไทยจากห้องอวกาศ. กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์. (ผู้เขียนร่วม)
1.4 ศูนย์ฝึกอบรมวนศาสตร์ชุมชนแห่งภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก. 2541. เอกสารประกอบการฝึกอบรมด้านวนศาสตร์ชุมชน (เอกสารภาคใต้). กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์สมาพันธ์. (ผู้เขียนร่วม)
1.5 คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ. 2542. วัฒนธรรม พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญาจังหวัดปัตตานี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว (ผู้เขียนร่วมและบรรณาธิการ)
1.6 ครองชัย หัตถา. 2546. ภูมิลักษณ์อ่าวปัตตานี. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
1.7 ครองชัย หัตถา. 2549. มัสยิดกรือเซะ มรดกอารยธรรมปัตตานี. ปัตตานี : สํานักวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
1.8 สํานักพัฒนาบุคลากร ศูนย์อํานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้. 2551. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดชายแดนภาคใต้. ยะลา : ยะลาการพิมพ์. (ผู้เขียน) 1.9 ครองชัย หัตถา. 2551. ประวัติศาสตร์ปัตตานี สมัยอาณาจักรโบราณถึงการปกครอง 7 หัวเมือง. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

2. ประเภทงานวิจัย
2.1 การสํารวจปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่รอบอ่าวปัตตานี (2535) (หัวหน้าโครงการ)
2.2 แบบจําลองการเปลี่ยนแปลงของชายฝั่งรอบอ่าวปัตตานี (2537) (นักวิจัยร่วม) 2.3 คุณภาพน้ํากับการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภค : กรณีศึกษาแม่น้ําปัตตานี (2538) (นักวิจัยร่วม)
2.4 การสํารวจแหล่งโบราณคดีเตาเผาบ้านดี อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี (2538) (นักวิจัยร่วม)
2.5 ความต้องการของชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณรอบอ่าวปัตตานี (2540) (หัวหน้าโครงการ)
2.6 การสํารวจสภาพปัญหามลพิษทางน้ําบริเวณพื้นที่รอบอ่าวปัตตานี (2541) (หัวหน้าโครงการ)
2.7 ปัตตานี : การค้าและการเมืองการปกครองในอดีต (2541) (หัวหน้าโครงการ) 2.8 การจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนมีส่วนร่วม : กรณีศึกษาชุมชนกรือเซะ-บาราโหม อําเภอเมือง จังหวัดปัตตานี (2547) (หัวหน้าโครงการ)
2.9 ลังกาสุกะ : พัฒนาการทางภูมิรัฐศาสตร์ (2547) (หัวหน้าโครงการ)
2.10 การศึกษาสํารวจเพื่อขยายฐานความรู้ทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองโบราณปัตตานีที่ตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี (2548) (หัวหน้าโครงการ)
2.11 การคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมในวิถีชุมชนชาวพุทธในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2549) (หัวหน้าโครงการ)
2.12 สังคมพหุวัฒนธรรมกับความมั่นคงของชาติ กรณีจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2550)(หัวหน้าโครงการ)
2.13 กรือเซะ : มุมมองใหม่จากหลักฐานภูมิประวัติศาสตร์และโบราณคดี กรณีศึกษา มัสยิดกรือเซะและความขัดแย้งเชิงสัญลักษณ์ (2551) (หัวหน้าโครงการ)
2.14 การวิจัยเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการที่อยู่อาศัยในภาคใต้ตอนล่าง (นักวิจัยร่วม)

3. ประเภทบทความและเอกสารวิชาการ
3.1 ครองชัย หัตถา. 2525. “การศึกษาตําแหน่งที่ตั้งเมืองโบราณปัตตานีจากภาพถ่ายทางอากาศและการสํารวจทางธรณีสัณฐาน,” รูสะมิแล. 6 (1 กันยายน-ธันวาคม 2525).33-39.
3.2 ครองชัย หัตถา. 2528. “ภูมิศาสตร?กับการศึกษาด้านมนุษยนิเวศวิทยา”, วารสารภูมิศาสตร์สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. 10 (1 มีนาคม 2528), 21-23.
3.3 ครองชัย หัตถา. 2529. “การศึกษาธรณีสัณฐานในท้องถิ่น : แนวคิดและวิธีการ”, วารสารภูมิศาสตร์ สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย, 11 (1 มีนาคม 2529), 35-48.
3.4 ครองชัย หัตถา. 2531. “ลักษณะและสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการใช้ประโยชน์ทาง การเกษตรของดินอินทรีย์ (ดินพรุ) ในจังหวัดนราธิวาส”, วารสารวิทยาศาสตร?และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 3 (1 มกราคม-เมษายน 2531), 13-23.
3.5 ครองชัย หัตถา. 2531. “พัฒนาการและการจัดกลุ่มแนวคิดเกี่ยวกับมนุษย์และ สิ่งแวดล้อม”, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร?. 11 (กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2531), 49-56.
3.6 ครองชัย หัตถา. 2531. “ข้อสังเกตและการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางธรณี สัณฐานวิทยาของพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ของประเทศไทย”, วารสารภูมิศาสตร์ สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. 13 (1 มีนาคม 2531), 24-29.
3.7 ครองชัย หัตถา. 2534. “การสํารวจปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมบริเวณพื้นที่รอบอ่าวปัตตานี”.วารสารภูมิศาสตร์ สมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย. 16 (3 พฤศจิกายน 2534). 17 – 27.
3.8 ครองชัย หัตถา. 2534. “การสํารวจปริมาณกรดฮิวมิกในดินบริเวณพื้นที่พรุชายฝั่งทะเล จังหวัดนราธิวาส”, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 6 (1 – 3 มกราคม 2534).33-41.
3.9 ครองชัย หัตถา. 2538. “แนวคิดและแนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่ออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม”, 20 – 26 การประชุมอบรมโครงการรณรงค์ปลูกจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. วันที่ 14 – 16 มิถุนายน 2538 ณ สถาบันราชภัฏยะลา
3.10 ครองชัย หัตถา. 2538. “ความปลอดภัยในการทํางานและปัญหามลพิษจากอุตสาหกรรม” , 1 – 7 การประชุมสัมมนาเรื่อง อิสลามกับอุตสาหกรรม วันที่ 19 – 20 สิงหาคม 2538 ณ วิทยาลัยอิสลามศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3.11 ครองชัย หัตถา. 2539. “มุมมองแหลมทองไทยกับการค้าระหว่างประเทศ”, 1 – 11 การสัมมนาโครงการเซาเทิร์นซีบอร์ด 2539 เรื่องผลดีและผลกระทบต่อ 14 จังหวัดภาคใต้. วันที่ 31 สิงหาคม 2539 ณ โรงแรมโนโวเทลภูเก็ต ซิตี้
3.12 ครองชัย หัตถา. 2539 “ประวัติเมืองปัตตานียุคสมัยต่าง ๆ” 1 – 9 สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นปัตตานี. ปัตตานี : ฝ่ายส่งเสริมการศาสนาและวัฒนธรรม สํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดปัตตานี.
3.13 ครองชัย หัตถา. 2540. “ลังกาสุกะ : เมืองท่าบนเส้นทางแห่งเอเชียและอารยธรรมในสมัยพุทธศตวรรษที่ 7 – 21”, 1 – 4 เอกสารประกอบการบรรยายเสนอต่อคณะกรรมาธิการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร วันที่ 14 พฤษภาคม 2540 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3.14 ครองชัย หัตถา. 2540 “ปัตตานี : มหานครและเมืองท่านานาชาติในสมัยพุทธศตวรรษที่ 22”,1– 8 เอกสารประกอบการบรรยาย เสนอต่อคณะกรรมาธิการศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมสภาผู้แทนราษฎร. วันที่ 14 พฤษภาคม 2540 ณ ม. สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3.15 ครองชัย หัตถา. 2540. “สภาพภูมิศาสตร์ของปัตตานีในอดีต กรณีศึกษาเรื่องแหล่งแร่ทองคําและยุคทองของปัตตานี”, 1-10 การสัมมนาทางวิชาการเรื่องประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจเมืองปัตตานี วันที่ 14 กรกฎาคม 2540 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3.16 ครองชัย หัตถา. 2541. “เศรษฐกิจการพาณิชย์ต่างประเทศของปัตตานีในอดีต” รูสมิแล 19 (2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2541), 1-10.
3.17 ครองชัย หัตถา. 2542. “ปัตตานี : การค้าและการเมืองการปกครองในอดีต”, วารสารภูมิศาสตร์. 24 (2 กรกฎาคม 2542), 55-66.
3.18 ครองชัย หัตถา. 2543. “ภูมิศาสตร์ท้องถิ่น”, 1-22 เอกสารประกอบการอบรมมัคคุเทศก์เฉพาะ (ต่างประเทศ-เฉพาะพื้นที่) (10 มิถุนายน -9 กรกฎาคม 2543) จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3.19 ครองชัย หัตถา. 2543. “การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว”, 1-25. เอกสารประกอบการอบรมมัคคุเทศก์เฉพาะ (ต่างประเทศ-เฉพาะพื้นที่) (10 มิถุนายน – 9 กรกฎาคม 2543) จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
3.20 ครองชัย หัตถา. 2544. “ลุ่มน้ําปัตตานี สภาพภูมิศาสตร์และคุณภาพสิ่งแวดล้อม”, 15-24. การสัมมนาทางวิชาการครั้งที่ 2 เรื่องลุ่มน้ําปัตตานีวันนี้. (2-3 มิถุนายน 2544) จัดโดยคณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
3.21 ครองชัย หัตถา. 2544. “การค้าต่างประเทศของปัตตานีในอดีต”, 90-99. การประชุมวิชาการ เรื่อง ภูมิศาสตร์ในยุคปฏิรูปการศึกษา. (17-20 ตุลาคม 2544) จัดโดยสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย ณ โรงแรมเสาวลักษณ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี.
3.22 ครองชัย หัตถา. 2547. ‘แลตาหนาจากลังกาสูกะสู่รัฐปัตตานี”, เอกสารการประชุมสัมมนาโครงการภูมิปัญญาทักษิณจากวรรณกรรมและพฤติกรรม. (17-18 มิถุนายน 2547) ณ โรงแรมกรีนเวิลด์พาเลซ สงขลา จัดโดยโครงการภูมิปัญญาทักษิณจากวรรณกรรมและพฤติกรรม สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
3.23 ครองชัย หัตถา. 2549. “ลังกาสุกะ : พัฒนาการทางภูมิรัฐศาสตร์”, ใน เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการเรื่อง ทักษิณศึกษา : กรณีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วันที่ 17-19 สิงหาคม 2549 หน้า 1-17. สงขลา : สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
3.24 ครองชัย หัตถา. 2549. “การศึกษาสํารวจเพื่อขยายฐานความรู้ทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองโบราณปัตตานีที่ตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี”, ใน รวมบทความวิชาการ การประชุมระดับชาติ (เวทีภาคใต้) สาขาสังคมวิทยา เรื่อง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการมีส่วนร่วมของไทยในการพัฒนาภูมิภาค. วันที่ 14 กันยายน 2549. หน้า 1-30. จัดโดยสํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
3.25 ครองชัย หัตถา. 2550. “กรือเซะ : มุมมองใหม่จากหลักฐานภูมิประวัติศาสตร์และโบราณคดีกรณีศึกษามัสยิดกรือเซะและความขัดแย่งเชิงสัญลักษณ์”. ใน เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการ หนึ่งทศวรรษการศึกษาประวัติศาสตร์ภาคใต์. วันที่ 24-25 สิงหาคม 2550. หน้า 1-22. จัดโดยคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
3.26 ครองชัย หัตถา. 2550. “การคุ้มครองมรดกทางวัฒนธรรมในวิถีชุมชนชาวพุทธในจังหวัดชายแดนภาคใต้”, ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประจําปี 2550 เรื่องภูมิศาสตร์กับสถานการณ์ของประเทศไทยในปัจจุบัน วันที่ 10-12 ตุลาคม 2550. หน้า 61-68. จัดโดยสมาคมภูมิศาสตร์แห่งประเทศไทย
3.27 ครองชัย หัตถา . 2551. การเปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งทะเลบริเวณพื้นที่รอบอ่าว

รางวัลหรือปริญญากิตติมศักดิ์ที่ได้รับ

- ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นในรอบปีของจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปี 2553

หมายเหตุ